เนื้อหาการอบรมในแต่ละวัน ประกอบด้วย :
วันที่ 1 (อิทธิพลของดิจิทัลที่มีผลต่อการบริหารองค์กรภาพรวม)
ส่วนที่ 1. องค์กรแห่งความยั่งยืน:
แนวทางการสร้างและลักษณะองค์กรที่จะประสบความสําเร็จในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล
๐ องค์กรแห่งเทคโนโลยี
๐ องค์กรจัดการข้อมูล
๐ องค์กรวิจัยและนวัตกรรม และแนวทางการสร้างองค์กรนวัตกรรมภายใต้ “โมเดลนวัตกรรม 3I” ซึ่งมี 3 องค์ประกอบ ได้แก่
• นวัตกรรมความคิด (ideation innovation)
• นวัตกรรมสิ่งปฏิบัติ (implementation innovation)
• นวัตกรรมผลกระทบ (impact innovation)
๐ องค์กรเรียนรู้ตลอดชีวิต และ แนวทางการสร้างองค์กรเรียนรู้ตลอดชีวิต
๐ องค์กรพลวัตร และ ลักษณะองค์กรพลวัตร
• โครงสร้างแนวราบ (Horizontal structure)
• โครงสร้างเฉพาะกิจ (Adhocracy)
• ความยืดหยุ่นในบริบทกาละและเทศะ (Time and space flexibility)
๐ องค์กรเครือข่าย
การบริหารในยุคดิจิทัล Digital
๐ จุดเชื่อมต่อทางความคิดและการคิดรอบด้านและแนวทางพัฒนาผ่านกระบวนการจัดการ
(OKR: Objective Key Result)
• การเตรียมบุคคลากรให้พร้อมกับการทํางานงานในองค์กรนวัตกรรมอย่างสอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กรและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ ในสามมิติ
• การใช้เทคโนโลยี เพื่อกระบวนการจัดการ และการมอบหมายงาน(Planning, Delegation and Project management)
๐ การพัฒนาองค์กรในยุคดิจิทัล (Organization Change & Development Planning )
• แนวทางการสร้างนวัตกรรมแห่งความยั่งยืนและรับผิดชอบต่อสังคม
• พื้นฐานความรู้เพื่อการพัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง (Process Improvement)
• วิเคราะห์โลกตามทฤษฏีคลื่น 7ลูก เพื่อเข้าใจวิถีนวัตกรรมโลก
• หลักพื้นฐานพฤติกรรมพยากรณ์เพื่อเข้าใจบริบทของธุรกิจ
๐ บันไดนวัตกรรม 3 ขั้น
• นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา
• นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเป็น
• นวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน
วันที่ 2 ( ความรู้-ทักษะ-ทัศนคติที่ผู้นํายุคดิจิทัลต้องมี)
ส่วนที่ 2. สัมมนาเชิงปฏิบัติการการพัฒนาความเป็นผู้จัดการและผู้นํามืออาชีพของคุณ
๐ ความสนใจที่แท้จริงที่มีกับงาน
• การนําแนวคิด”ความสนใจที่ฝังรากลึก 8 แบบ” (The Business Career interest Inventory : Butler & Waldrop) มาใช้ค้นหา ความสนใจที่แท้จริงที่คุณมี ต่องานนั้นๆคุณค่าของอาชีพและแรงจูงใจในการทํางานของคุณ
• แหล่งข้อมูลที่จะทําให้รู้จักตนเอง
• การสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเองที่เป็นทางการ
• รู้ได้อย่างไรว่าถึงเวลาของการเปลี่ยนแปลงตนเอง
• เทคนิคที่นําไปใช้ได้จริงเพื่อแยกแยะแรงจูงใจที่ทําให้คุณทุ่มเทกับงานของคุณ ประเมินทักษะทางธุรกิจของคุณ
• ค้นหาทักษะที่ถ่ายโอนได้และถ่ายโอนไม่ได้เพื่อการพัฒนาตนเองให้เป็นมืออาชีพมากขึ้น (Transferable – Non transferable Skills)
๐ การเติมช่วงห่างของทักษะและประสบการณ์ (Career Gap)
• เรียนรู้หลักการพัฒนาตนเองตามแนวทางของ“Herminai Ibarra Technique”
• การทดลองฝีมือ
• เปลี่ยนสายสัมพันธ์
• การลงมือทําอย่างเป็นระบบ
๐ ลักษณะของผู้นําที่สามารถสร้างประสิทธิผล
• เทคนิคการค้นหาคุณสมบัติที่ขาดหายที่ฉุดรั้งความเป็นผู้นําของคุณ
๐ หลักการจัดความสมดุลของงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance)
๐ การวิเคราะห์การใช้เว้ลาในฐานะผูจัดการ
๐ เทคนิคการลําดับความสําคัญของงาน
• เทคนิคการค้นหาและเรียงลําดับความสําคัญของกิจกรรมที่ทําอยู่เพื่อให้การใช้เวลามี ประสิทธิภาพที่สุด
๐ แนวทางการจัดตารางทํางานที่ยืดหยุ่น( Flexible Work Schedule : FWS)
• Reduce-time schedules
• Seasonal schedules
• Compressed Schedules
ส่วนที่ 3. สัมมนาเชิงปฏิบัติการความท้าทายในการเป็นผู้นํา
๐ จะสร้างวิสัยทัศน์ให้คนอื่นปฏิบัติตามได้อย่างไร
• องค์ประกอบของวิสัยทัศน์ที่มีประสิทธิผล
• หลักคิด เพื่อการอธิบายวิสัยทัศน์จนเห็นภาพได้ชัดเจน
๐ การเร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
• ตรวจสอบคุณลักษณะความเป็น “ตัวเร่งความเปลี่ยนแปลง”ในตัวคุณ
• เงื่อนไขที่ทําให้องค์กรของคุณพร้อมต่อความเปลี่ยนแปลง
• วิธีการจัดการกับความคิดที่ว่า “ทุกอย่างดีอยู่แล้ว (Complacency)” จนทําให้องค์กร ไม่เปลี่ยนแปลง
• ค้นหาสัญญาณของความพึงพอใจที่เป็นอยู่ที่ “อาจเหนี่ยวรั้ง” การยกระดับขององค์กร
๐ การเป็นผู้นําแม้ไม่มีได้ถูกแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ
• วิธีการชี้นําแม้คุณไม่ได้เป็นเจ้านายโดยตรง (Cross-functional team leading)
๐ การจัดตั้งทีมงาน
• สถานการณ์และเงื่อนไขที่บังคับให้ต้องตั้งทีมงาน
• ลักษณะของทีมงานที่มีประสิทธิผล
• การออกแบบทีมงานและองค์ประกอบสําคัญในการออกแบบทีมงาน
• เป้าหมาย
• อํานาจ
• ระยะเวลาขับเคลื่อน
• บทบาทความรับผิดชอบ
• รางวัล
• วิธีการเลือกสมาชิกเข้าสู่ทีม
๐ การจัดการกับความตึงเครียด
• สาเหตุของความตึงเครียด
• แรงกระตุ้นจากการแข่งขัน (Competitive Urge)
• การตัดสินใจของกลุ่ม และ สิทธิอํานาจ (Group Influence & Authority)
• วิธีการจัดการกับความตึงเครียดภายในองค์กร
วันที่ 3 (บริหารกลยุทธ์ให้สอดคล้องและเปลี่ยนทันโลก)
ส่วนที่ 4. สัมมนาเชิงปฏิบัติการบริหารทีมงาน
๐ การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic management)
• การเลือกวางตําแหน่งทางกลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนองค์กร (Strategic positions)
• การวางตําแหน่งตามความหลากหลาย (Variety Base Positioning)
• การวางตําแหน่งตามความจําเป็น (Need Base Positioning)
• การวางตําแหน่งตามความสามารถในการเข้าถึงลูกค้า (Access Base positioning)
• ขั้นตอนในการสร้างกลยุทธ์
• มองจากภายนอกเพื่อแสวงหาโอกาส และ ภัยคุกคาม (Outside-in)
• มองจากทรัพยากรทางธุรกิจที่มีเพื่อค้นหาความสามารถและสร้างแนวทางปฏิบัติ
• หลักพิจารณาหากลยุทธ์ที่ทําให้เห็นถึงภัยคุกคามและโอกาส
• แนวทางสร้างความสอดคล้องระหว่างกลยุทธ์และกิจกรรมที่นํามาใช้ขับเคลื่อน
• แนวทางสร้างความสอดประสานระหว่างบุคลากรที่ขับเคลื่อนกลยุทธ์ กับกลยุทธ์ และกิจกรรมที่นํามาใช้ขับเคลื่อน
๐ การบริหารและการจัดการกับวิกฤติ (Crisis management)
• รู้ได้อย่างไรว่ากําลังจะเผชิญภาวะวิกฤติ
• การเตรียมรับมือกับวิกฤติ 6 ขั้นตอนในการจัดการกับวิกฤติ
• การหลีกเลี่ยงวิกฤติ
• การเตรียมตัวเพื่อจัดการวิกฤติ
• การรับรู้ถึงวิกฤติ
• การควบคุมวิกฤติ
• การแก้ไขวิกฤติ
• การสรุปบทเรียนจากวิกฤติ
๐ การบริหารและการจัดการกับพนักงานที่มีปัญหา (Problem member)
• การใช้แรงจูงใจ (Motivation) และการใช้ข้อมูลโต้กลับ (Feed Forward) เพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรม หรือผลการปฏิบัติงานที่ตํ่ากว่าเกณฑ์
• การตัดสินใจเลิกจ้างและข้อควรระวังเมื่อต้องตัดสินใจเลิกจ้าง
๐ การบริหารและการจัดการเมื่อผู้นํามีปัญหา (Inefficiency Leader)
• แนวทางการจัดการเมื่อผู้นําที่ได้รับมอบอํานาจจากเราไป ไม่สามารถทํางานได้อย่า มีประสิทธิภาพ จนเราไม่สามารถวางมือได้
๐ การกระจายงาน (Delegation & Empowering)
• สัญญาณเตือนว่าถึงเวลาที่ต้องกระจายงานออกไปจากคุณ
• ประโยชน์ของการกระจายงาน
• แนวทางในการกระจายงานอย่างมีประสิทธิผล
• หลักการกระจายงาน
• หลักการมอบหมายงาน
๐ การประเมินผลการปฏิบัติงานของทีม (Performance Appraisal)
• แนวทางประเมินด้านผลลัพธ์
• แนวทางประเมินด้านกระบวนการ
• ขั้นตอนและวิธีการประเมินทีมงานและผู้นำ
วันที่ 4 (วิธีคิดเชิงอนาคตและตัดสินใจที่เหมาะสมกับยุค)
ส่วนที่ 5. “ วิธีคิดเชิงอนาคต และการวางยุทธศาสตร์และการตัดสินใจเพื่อสร้างนวัตกรรมการเปลี่ยนแปลง” เพื่อความสําเร็จที่ยั่งยืนแท้จริง
๐ กฎพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลง ประเภทของการเปลี่ยนแปลง
๐ เทคนิคการคาดการณ์อนาคตเพื่อการวางแผนการเปลี่ยนแปลง
๐ การประเมินความพร้อมและอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลง
๐ แผนที่อนาคต(Futuristic & Change Roadmap) เพื่อการวางแผนและเตรียมความพร้อมสู่การเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิผล
• ความหมายของ”อนาคต”
• เหตุใดต้องคิดเชิงนาคต
• ฝึกทักษะการคาดการณ์อนาคต เพื่อการพัฒนาองค์กร
๐ พัฒนาทักษะการเป็นนักคิดเชิงอนาคต เพื่อการพัฒนาองค์การ (Organization awareness) และเพื่อวางยุทธศาสตร์ (Planning and Project management)
• ฝึกทักษะการคาดการณ์อนาคต เพื่อการพัฒนาองค์กรและการวางยุทธศาสตร์
ส่วนที่ 6. Strategic Decision Making การตัดสินใจ...พลิกสถานการณ์
๐ Decision making (การตัดสินใจ)
• หลักการพื้นฐานของการตัดสินใจ
• เป้าหมายของการตัดสินใจ
• การทําให้เป้าเปรียบเทียบชัดเจน
• การมองย้อนกลับจากอดีตสู่อนาคต
• กระบวนการและขั้นตอนการตัดสินใจ
• คําตอบที่ถูกต้องมีเพียงหนึ่งคําตอบ
• Strategic Orientation (ความมีไหวพริบเชิงกลยุทธ์)
• ความสัมพันธ์ระหว่างข้อเสนอ และเกณฑ์การตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ
• คํานัยยะแอบแฝง
• หลักการแก้วิกฤติแบบ Standard Operating Procedure (SOP)
• หลักการใช้ความเสียเปรียบ พลิกมาเป็นโอกาสเหนือคู่แข่ง
• อิทธิพลของสิ่งเร้ากับการตัดสินใจ
• Flexibility and adaptability (ความยืดหยุ่นและการปรับตัว)
• ความสัมพันธ์แบบ Win Win
• หลักคิดเพื่อหาข้อตกลงที่ยุติธรรม
• การพัฒนาตนเองเพื่อเป็นนักกลยุทธ์
วันที่ 5 (สื่อสารกับกลุ่มตลาดเป้าหมายด้วยเครื่องมือยุคดิจิทัล)
ส่วนที่ 7. เครื่องมือสื่อสารยุคดิจิตัล เพื่อการตลาด (Understand Digital tool for attract the market)
๐ อิทธิพลของเครือข่ายสังคมออนไลน์ และผู้มีอิทธิพลต่อความคิดตัดสินใจซื้อในยุคปัจจุบัน
๐ หลักคิดและวิธีการนําสินค้าเข้าสู่ตลาดonline และ Offline 6 ขั้นตอน
• วิธีคาดการณ์ความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เมื่อสินค้าเราถูกนําสู่ตลาดแล้วสิ่งใด จะเกิดขึ้นบ้าง สถานการณ์ตลาดจะเป็นอย่างไรทั้งในฝั่ง Demand และ Supply
• วิธีประเมินผลกระทบ ที่สินค้าเรามีต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกกระบวนการ และจากผลกระทบที่เกิดขึ้นเราจะทําอย่างไรจึงจะตอบสนอง Demand และ Supply
• วิธีเตรียมข้อมูลสําคัญเพื่อการนําเสนอ เน้นการนําเสนอข้อเท็จเพื่อใช้ในการตัดสินใจเป็นหลัก หรือการเน้น key messages
• วิธีการนําเสนอข้อมูล ที่มั่นใจได้ว่า ข้อมูลเหล่านี้จะต้องส่งมอบไปถึงมือลูกค้า และผู้มีอํานาจตัดสินใจโดยตรง (Key decision makers) ผ่านเครื่องมือการตลาดทั้ง Online และ Offline
• หลักการกําหนดตารางเวลา ให้เพียงพอและเหมาะสมในการสื่อสารการตลาด
• ประเมินผลลัพธ์และปรับปรุงกลยุทธ์
• เรียนรู้ Buyer Decision Making Model เพื่อเข้าใจความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า
• แนวทางและวิธีการทําให้ลูกค้าเป้าหมายตัดสินใจซื้อสินค้า
ส่วนที่ 8. การใช้สื่อยุคดิจิทัลเพื่อการจัดการข้อร้องเรียน
๐ 7 Gap Model และ เพื่อค้นหาช่องว่างของการบริการและการประสานงาน
๐ การบริหารลูกค้าที่คุณมีอยู่ด้วย Super service Sequence Model
๐ 7 A’s Model เพื่อการรับมือกับข้อร้องเรียนและลูกค้าเจ้าปัญหา
๐ ค้นหาแรงจูงใจของลูกค้าที่มีผลต่อทัศนคติการบริการจาก Empathy Map
๐ การให้ความสําคัญกับลูกค้าที่ดีที่สุดที่มีในมือ
๐ เรียนรู้ Image Enhancing การรักษาภาพลักษณ์และพันธสัญญาของผู้ให้บริการ และภาพลักษณ์ขององค์กร
๐ เรียนรู้ Public Relation & Content matrix Model เพื่อการเลือกใช้สื่อสมัยใหม่ ที่เหมาะสมในการสื่อสาร