RoboIoT Certification Program

โครงการส่งเสริมการทดสอบ ผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการ และผลิตภัณฑ์ IoT

สู่การรับรองมาตรฐานในระดับสากล

RoboIoT Certification Program

โครงการส่งเสริมการทดสอบ

ผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการ และผลิตภัณฑ์ IoT

สู่การรับรองมาตรฐานในระดับสากล

Introduction

logo

Introduction

logo

โครงการส่งเสริมการทดสอบผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการ และผลิตภัณฑ์ IoT

สู่การรับรองมาตรฐานในระดับสากล


          นับตั้งแต่ ปี 2563 เป็นต้นมา หุ่นยนต์บริการ ระบบอัตโนมัติและอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากกับการใช้ชีวิตประจำวัน และจากความนิยมใช้หุ่นยนต์บริการ ระบบอัตโนมัติและ IoT ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ไม่เพียงทำให้เกิดผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์ IoT มากขึ้น แต่ยังส่งผลต่อการแข่งขันของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมสูงขึ้นด้วย ในปัจจุบัน ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มุ่งที่จะออกแบบและพัฒนาฟังก์ชันการทำงานของผลิตภัณฑ์เพื่อให้ใช้งานได้ โดยไม่ได้คำนึงถึงการออกแบบและพัฒนาด้านความมั่นคงและปลอดภัยในการใช้งาน และในส่วนของข้อมูล รวมถึงมีการละเลยกฎระเบียบต่าง ๆ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ ซึ่งสร้างความเสี่ยงและอาจก่อให้เกิดอันตรายทั้งต่อทรัพย์สินและชีวิตของผู้บริโภคได้

          โครงการส่งเสริมการทดสอบผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์ IoT มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการนำผลิตภัณฑ์เข้ารับการทดสอบด้านความมั่นคง และปลอดภัยในการใช้งานและในส่วนของข้อมูล เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมั่นต่อผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต อีกทั้งยังช่วยผลักดันให้ภาคอุตสาหกรรมในประเทศเกิดการวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐานในระดับสากล โดยโครงการฯ จะสนับสนุนค่าใช้จ่ายบางส่วน สำหรับผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการทดสอบและได้เครื่องหมายการรับรองผลิตภัณฑ์ P Mark โดยศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) หน่วยทดสอบและรับรองระบบงานตามมาตรฐาน ISO/IEC 17065 ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมจากสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)

วัตถุประสงค์

  • ส่งเสริมให้ผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการและผลิตภัณฑ์ IoT ได้รับการทดสอบด้านความปลอดภัย ด้วยระบบการรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานสากลและสอดคล้องกับพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลรวมถึงกฏหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • สร้างความตระหนักรู้ถึงเครื่องหมายการรับรอง P Mark แก่ผู้ประกอบการผู้ผลิตนำเข้าและส่งออก เพื่อสร้างความเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
  • สนับสนุนผู้ประกอบการนวัตกรไทยให้สามารถพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพผ่านการทดสอบและรับรองผลิตภัณฑ์ P mark

กลุ่มเป้าหมาย

  • ผู้ผลิต นักพัฒนาที่มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์
  • ผู้นำเข้า ที่ต้องการสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้บริโภค
  • ผู้ประกอบการที่ต้องการส่งสินค้าไปจำหน่ายในประเทศอาเซียน สหภาพยุโรป หรือสหรัฐอเมริกาได้

การสนับสนุน และประโยชน์ที่จะได้รับ

  • การทดสอบเบื้องต้น Pre-Test (ไม่มีค่าใช้จ่าย)
  • โครงการฯ สนับสนุนค่าใช้จ่ายการดำเนินโครงการ 75% สูงสุด 200,000 บาท (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)
  • ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำผลการทดสอบที่ได้รับไปใช้ยื่นขอการรับรองมาตรฐานต่างๆเช่น CE มอก. กสทช.

การทดสอบเบื้องต้น Pre-Test

ประเมินผลิตภัณฑ์เบื้องต้น เพื่อลดเวลาและค่าใช้จ่ายในการทดสอบจริง

  • ใช้เวลาทดสอบ 30 วัน (โดยประมาณ)
  • เริ่มเดือนพฤศจิกายน 2567 - มีนาคม 2568
  • ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ คู่มือการใช้งาน เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์
  • สรุปผลการทดสอบ (ไม่สามารถนำไปใช้จดแจ้งมาตรฐานได้)

มาตรฐานเครื่องโทรคมนาคมและอุปกรณ์

  • กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ
  • ทดสอบตามช่วงความถี่วิทยุ ตามมาตรฐานที่ กสทช. กำหนด

มาตรฐานความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า EMC

  • IEC 61000-6-1
  • IEC 61000-6-3

มาตรฐานด้านซอฟต์แวร์

  • Survey & Questionaire
  • ISO 13482:2014 (เกี่ยวข้องกับ Software) โดยอ้างอิงวิธีทดสอบจาก ISO/TR 23482-1 : หัวข้อ 15
  • พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software)

มาตรฐานอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบ กลุ่มผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการ

ประเภท 2.4 GHz หรือ 5 GHz

กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.4 กิกะเฮิรตซ์ และ 5 กิกะเฮิรตซ์
การทดสอบ มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Basic มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Intermediate มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Advanced
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 และ กทช. มท. 5001-2550 มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 และ กทช. มท. 5001-2550 มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 และ กทช. มท. 5001-2550
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ

ช่วงความถี่วิทยุ 2.400 – 2.500 GHz EN 300 328 หรือ FCC Part 15.247

ช่วงความถี่วิทยุ 5.150 – 5.350 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.470 – 5.725 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.725 – 5.850 GHz ETSI EN 302 502 หรือ FCC Part 15.247 หรือ FCC Part 15.407
กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ

ช่วงความถี่วิทยุ 2.400 – 2.500 GHz EN 300 328 หรือ FCC Part 15.247

ช่วงความถี่วิทยุ 5.150 – 5.350 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.470 – 5.725 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.725 – 5.850 GHz ETSI EN 302 502 หรือ FCC Part 15.247 หรือ FCC Part 15.407
กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ

ช่วงความถี่วิทยุ 2.400 – 2.500 GHz EN 300 328 หรือ FCC Part 15.247

ช่วงความถี่วิทยุ 5.150 – 5.350 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.470 – 5.725 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.725 – 5.850 GHz ETSI EN 302 502 หรือ FCC Part 15.247 หรือ FCC Part 15.407
ความปลอดภัยด้านซอฟต์แวร์ ISO 13482:2014 (เกี่ยวข้องกับSoftware) โดยอ้างอิงวิธีทดสอบจาก ISO/TR 23482-1 ISO 13482:2014 (เกี่ยวข้องกับSoftware) โดยอ้างอิงวิธีทดสอบจาก ISO/TR 23482-1 ISO 13482:2014 (เกี่ยวข้องกับSoftware) โดยอ้างอิงวิธีทดสอบจาก ISO/TR 23482-1
ความมั่นคงปลอดภัย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software) พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software) พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software)
ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า - IEC 61000-6-1, IEC 61000-6-3 IEC 61000-6-1, IEC 61000-6-3
ประสิทธิภาพการใช้งาน - - IEC 62849

อัตราค่าบริการทดสอบกลุ่มผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการ

ประเภท 2.4 GHz หรือ 5 GHz

กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.4 กิกะเฮิรตซ์ และ 5 กิกะเฮิรตซ์
การทดสอบ มาตรฐาน มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Basic มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Intermediate มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Advanced
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 22,000 – 58,000 22,000 – 58,000 22,000 – 58,000
ความปลอดภัย (Safety) กทช. มท. 5001-2550 12,000 12,000 12,000
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ มาตรฐาน EN หรือ FCC (ตามช่วงความถี่วิทยุ) 10,500 – 57,500 10,500 – 57,500 10,500 – 57,500
ความปลอดภัยด้านซอฟต์แวร์ ISO 13482:2014 (เกี่ยวข้องกับ Software) โดยอ้างอิงวิธีทดสอบจาก ISO/TR 23482-1 : -หัวข้อ 15, 16 60,000 60,000 60,000
ความปลอดภัยด้านซอฟต์แวร์ ISO 13482:2014 (เกี่ยวข้องกับ Software) โดยอ้างอิงวิธีทดสอบจาก ISO/TR 23482-1 : -หัวข้อ 17 30,000 30,000 30,000
ความปลอดภัยด้านซอฟต์แวร์ ISO 13482:2014 (เกี่ยวข้องกับ Software) โดยอ้างอิงวิธีทดสอบจาก ISO/TR 23482-1 : -หัวข้อ 18 30,000 30,000 30,000
ความมั่นคงปลอดภัย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software) 50,000 50,000 50,000
ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า IEC 61000-6-1, IEC 61000-6-3 100,500 100,500
ประสิทธิภาพการใช้งาน IEC 62849 25,000 – 35,000

มาตรฐานอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบ กลุ่มผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการ

ประเภท RFID

กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคม ประเภท Radio Frequency Identification: RFID
การทดสอบ มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง อัตราค่าบริการ
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 22,000 – 58,000
ความปลอดภัย (Safety) และ กทช. มท. 5001-2550 12,000
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1010-2560 หรือ
ความถี่ต่ำกว่า 135 kHz - ETSI EN 300 330-1
ความถี่ย่าน 13.553 - 13.567 MHz - ETSI EN 300 330-1 หรือ - ETSI EN 302 291-1 หรือ - FCC Part 15.225
ความถี่ย่าน 433.05 – 434.79 MHz - ETSI EN 300 220-1
ความถี่ย่าน 920 - 925 MHz หรือ - FCC Part 15.247 หรือ - FCC Part 15.249 หรือ - ETSI EN 302 208
ความถี่ย่าน 2.4 – 2.5 GHz - ETSI EN 300 440-1 หรือ - FCC Part 15.247 หรือ - FCC Part 15.249
ความถี่ย่าน 5 GHz - ETSI EN 300 440-1 หรือ - FCC Part 15.247 หรือ - FCC Part 15.249
10,500 – 38,500
กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคมที่ไม่ใช่ประเภท Radio Frequency Identification: RFID : ซึ่งใช้คลื่นความถี่ย่าน 920 – 925 เมกะเฮิรตซ์
การทดสอบ มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง อัตราค่าบริการ
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 22,000 – 58,000
ความปลอดภัย (Safety) และ กทช. มท. 5001-2550 12,000
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1033-2560 หรือ ETSI EN 300 220-1 หรือ FCC Part 15.209 41,500

มาตรฐานอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบ กลุ่มผลิตภัณฑ์ IoT

ประเภท 2.4 GHz หรือ 5 GHz

กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.4 กิกะเฮิรตซ์ และ 5 กิกะเฮิรตซ์
การทดสอบ มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Basic มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Intermediate มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Advanced
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 และ กทช. มท. 5001-2550 มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 และ กทช. มท. 5001-2550 มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 และ กทช. มท. 5001-2550
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ

ช่วงความถี่วิทยุ 2.400 – 2.500 GHz EN 300 328 หรือ FCC Part 15.247

ช่วงความถี่วิทยุ 5.150 – 5.350 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.470 – 5.725 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.725 – 5.850 GHz ETSI EN 302 502 หรือ FCC Part 15.247 หรือ FCC Part 15.407
กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ

ช่วงความถี่วิทยุ 2.400 – 2.500 GHz EN 300 328 หรือ FCC Part 15.247

ช่วงความถี่วิทยุ 5.150 – 5.350 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.470 – 5.725 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.725 – 5.850 GHz ETSI EN 302 502 หรือ FCC Part 15.247 หรือ FCC Part 15.407
กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ

ช่วงความถี่วิทยุ 2.400 – 2.500 GHz EN 300 328 หรือ FCC Part 15.247

ช่วงความถี่วิทยุ 5.150 – 5.350 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.470 – 5.725 GHz ETSI EN 301 893 หรือ FCC Part 15.407

ช่วงความถี่วิทยุ 5.725 – 5.850 GHz ETSI EN 302 502 หรือ FCC Part 15.247 หรือ FCC Part 15.407
ความมั่นคงปลอดภัย - พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software) พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software)
การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitbility) - การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitbility) การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitbility)
ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า - - IEC 61000-6-1, IEC 61000-6-3

อัตราค่าบริการทดสอบกลุ่มผลิตภัณฑ์ IoT

ประเภท 2.4 GHz หรือ 5 GHz

กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้คลื่นความถี่ย่าน 2.4 กิกะเฮิรตซ์ และ 5 กิกะเฮิรตซ์
การทดสอบ มาตรฐาน มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Basic มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Intermediate มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง Advanced
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 22,000 – 58,000 22,000 – 58,000 22,000 – 58,000
ความปลอดภัย (Safety) กทช. มท. 5001-2550 12,000 12,000 12,000
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1035 – 2562 หรือ มาตรฐาน EN หรือ FCC (ตามช่วงความถี่วิทยุ) 10,500 – 57,500 10,500 – 57,500 10,500 – 57,500
ความมั่นคงปลอดภัย พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) (เกี่ยวข้องกับ Software) - 50,000 50,000
ความมั่นคงปลอดภัย OWASP (กรณี IP Camera/ IoT device ) - 40,000 40,000
ความมั่นคงปลอดภัย OWASP (Mobile Application, Web Application ) - 20,000 20,000
การทำงานเชิงหน้าที่ (Functional Suitbility) ISO/IEC 25040:2011, ISO/IEC/IEEE 29119-2:2013 - 50,000+ ขึ้นกับจำนวนฟังก์ชันและความซับซ้อน 50,000+ ขึ้นกับจำนวนฟังก์ชันและความซับซ้อน
ความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า IEC 61000-6-1, IEC 61000-6-3 - 100,500

มาตรฐานอ้างอิงที่ใช้ในการทดสอบ กลุ่มผลิตภัณฑ์ IoT

ประเภท RFID

กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคม ประเภท Radio Frequency Identification: RFID
การทดสอบ มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง อัตราค่าบริการ
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 22,000 – 58,000
ความปลอดภัย (Safety) และ กทช. มท. 5001-2550 12,000
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1010-2560 หรือ
ความถี่ต่ำกว่า 135 kHz - ETSI EN 300 330-1
ความถี่ย่าน 13.553 - 13.567 MHz - ETSI EN 300 330-1 หรือ - ETSI EN 302 291-1 หรือ - FCC Part 15.225
ความถี่ย่าน 433.05 – 434.79 MHz - ETSI EN 300 220-1
ความถี่ย่าน 920 - 925 MHz หรือ - FCC Part 15.247 หรือ - FCC Part 15.249 หรือ - ETSI EN 302 208
ความถี่ย่าน 2.4 – 2.5 GHz - ETSI EN 300 440-1 หรือ - FCC Part 15.247 หรือ - FCC Part 15.249
ความถี่ย่าน 5 GHz - ETSI EN 300 440-1 หรือ - FCC Part 15.247 หรือ - FCC Part 15.249
10,500 – 38,500
กลุ่มผลิตภัณฑ์ : เครื่องวิทยุคมนาคมที่ไม่ใช่ประเภท Radio Frequency Identification: RFID : ซึ่งใช้คลื่นความถี่ย่าน 920 – 925 เมกะเฮิรตซ์
การทดสอบ มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ้างอิง อัตราค่าบริการ
ความปลอดภัย (Safety) มอก. 1561-2553 หรือ มอก. 62368 เล่ม 1-2563 หรือ IEC 60950-1: 2013 หรือ IEC 62368-1 Edition 3.0: 2018-10 22,000 – 58,000
ความปลอดภัย (Safety) และ กทช. มท. 5001-2550 12,000
โทรคมนาคม กสทช. มท. 1033-2560 หรือ ETSI EN 300 220-1 หรือ FCC Part 15.209 41,500

โครงการฯ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการทดสอบ

สนับสนุนค่าใช้จ่าย 75%

สูงสุด 200,000 บาท / ผลิตภัณฑ์ (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)

ตัวอย่างเครื่องหมายการรับรอง กลุ่มผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์บริการ (อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้)

GENERAL
BASIC
INTERMEDIATE
ADVANCED

คุณสมบัติและเงื่อนไขการสมัคร

  • เป็นนิติบุคคลที่ต้องการขอการรับรองผลิตภัณฑ์ P mark
  • เป็นนิติบุคคลมีคนไทยเป็นผู้ถือหุ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 51 และทุนจดทะเบียนไม่เกิน 200 ล้านบาท
  • ไม่เป็นผู้ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากหน่วยงานอื่น ในโครงการประเภทเดียวกัน
  • ผู้บริหารให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ ในการจัดสรรทรัพยากรที่เกี่ยวข้องในการร่วมโครงการฯ
  • ต้องมีทีมบุคลากรด้านการปรับปรุงผลิตภัณฑ์
  • ยินดีปฏิบัติตามเงื่อนไขทุกข้อของโครงการฯ

เงื่อนไขการสนับสนุน

  • โครงการฯสนับสนุนค่าใช้จ่ายเฉพาะค่าที่ปรึกษาค่าตรวจประเมินและค่าทดสอบ (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) ที่เกิดขึ้นจากการว่าจ้างที่ปรึกษาและใช้งานห้องปฏิบัติการทดสอบในโครงการฯ เท่านั้น
  • ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จะต้องชำระค่าใช้จ่ายการดำเนินโครงการ ได้แก่ ค่าที่ปรึกษา ค่าตรวจประเมินและค่าทดสอบ เต็มจำนวนโดยตรงให้แก่ผู้ให้บริการ และนำหลักฐานการชำระเงิน ยื่นขอเบิกเงินสนับสนุนจากโครงการฯ ตามเงื่อนไขที่กำหนด
  • โครงการฯ ขอสงวนสิทธิ์ที่จะสนับสนุนเฉพาะผู้เข้าร่วมโครงการฯ ที่ดำเนินกิจกรรมและเข้ารับการประเมินภายในระยะเวลาที่ระบุในแผนการดำเนินงานที่นำเสนอเท่านั้น หากมีเหตุอันไม่สามารถดำเนินงานได้ตามแผนงาน ผู้เข้าร่วมโครงการฯ จะต้องทำหนังสือแจ้งถึงโครงการฯ หากไม่ปฏิบัติตาม โครงการฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการยกเลิกการสนับสนุน
  • โครงการฯ จะสนับสนุนเฉพาะผู้ที่ผ่านการประเมิน และได้เครื่องหมายการรับรองจากห้องปฏิบัติการทดสอบในโครงการฯ ทั้งนี้ ชื่อหน่วยงานที่ผ่านการรับรองจะต้องตรงกับชื่อหน่วยงานที่ขอรับการสนับสนุน
  • การเบิกจ่ายเงินสนับสนุนเป็นการชำระเพียงครั้งเดียวในลักษณะการชำระคืน (Reimbursement) ตามเงื่อนไขเมื่อผู้เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านการประเมินและได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจากห้องปฏิบัติการทดสอบในโครงการฯ ทั้งนี้กระบวนการเบิกจ่ายเงินสนับสนุนจะเริ่มเมื่อโครงการฯเข้าประเมินปิดและได้รับเอกสารการขอเบิกจ่ายถูกต้องครบถ้วน

เงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ

  • ต้องจัดส่งแผนการดำเนินงาน (Action Plan) และหากมีการปรับแผนต้องแจ้ง พร้อมส่งแผนงานฉบับใหม่ให้กับโครงการฯ
  • ต้องจัดทำ และส่งรายงานความก้าวหน้ารายเดือน (Monthly Progress Report) ในรูปแบบที่กำหนด ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน
  • ต้องยินยอมให้ผู้เชี่ยวชาญสมทบเข้าสังเกตการณ์การดำเนินงาน โดยต้องส่งแผนการดำเนินงานให้โครงการฯ และผู้เชี่ยวชาญสมทบตามระยะเวลาที่โครงการฯ กำหนด
  • ต้องยินยอมให้โครงการฯ และผู้เชี่ยวชาญเข้าติดตามความก้าวหน้าตลอดระยะเวลาการดำเนินงานของโครงการฯ
  • ยินดีให้ข้อมูลเพื่อนำไปใช้วิเคราะห์ดัชนีอุตสาหกรรม และ/หรือการศึกษาวิเคราะห์อื่นๆ เพื่อประโยชน์ของโครงการฯ

เกณฑ์การพิจารณา

  • ส่งใบสมัครและเอกสารประกอบการสมัคร(ทางอีเมล) ถูกต้อง ครบถ้วน ภายในเวลาที่กำหนด
  • มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์
  • มีความพร้อมด้านการเงิน บุคลากรและการจัดการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจกรรม
  • ผู้บริหารและบุคลากรมีความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของประโยชน์ที่จะได้รับจากการทำมาตรฐาน
  • ผู้บริหารให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ในการจัดสรรกำลังคนและทรัพยากรอื่นๆ อย่างเหมาะสม
  • บริษัทมีผลิตภัณฑ์ที่พร้อมจำหน่าย เพื่อเข้ารับการทดสอบตามเวลาที่กำหนด
  • มีประสบการณ์การทำมาตรฐานสากล การทดสอบ จะได้รับการพิจารณาเป็นพิเศษ
  • ผลการคัดเลือกของคณะกรรมการให้ถือเป็นสิ้นสุด

แนวทางการดำเนินงาน

วิธีการสมัครเข้าร่วม และเอกสารประกอบ

ใบสมัคร

ส่งใบสมัคร ที่กรอกข้อมูลเรียบร้อยมาได้ที่ คุณศิวกร อีเมล siwakorn@swpark.or.th
ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท *

(Company Profile) 1 ชุด

ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ *

และแผนการดำเนินงาน (Action Plan)

หนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัท *

เอกสารสำเนาอายุไม่เกิน 1 เดือน

หนังสือบริคณห์สนธิ (บอจ. 2) *

เอกสารสำเนาอายุไม่เกิน 1 เดือน

หนังสือผู้ถือหุ้น (บอจ. 5) *

เอกสารสำเนาอายุไม่เกิน 1 เดือน

งบการเงินย้อนหลัง 3 ปี *

เอกสารสำเนา

บัตรประจำตัวประชาชน
ของผู้มีอำนาจลงนาม*

เอกสารสำเนา

* เอกสารเพิ่มเติม กรณีที่ขอทุนสนับสนุนการทดสอบ สามารถส่งตามมาภายหลังการสัมภาษณ์ได้

ปฏิทินกิจกรรม